ขนาดฟ้อน
สีอักษร
หน้าแรก
บริการ
ภารกิจ
ฝ่ายยุทธศาสตร์อุตสาหกรรมและการลงทุน
โปรแกรมบริหารเภสัชภัณฑ์และเซลล์บำบัด
โปรแกรมบริหารและพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องมือแพทย์และหุ่นยนต์ทางการแพทย์ขั้นสูง
โปรแกรมบริหารโภชนเภสัชภัณฑ์และเวชสําอาง
ฝ่ายการใช้ประโยชน์นวัตกรรมเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
APEC Life Science
โครงการความร่วมมือด้านการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมระหว่างภูมิภาคอาเซียนและกลุ่มประเทศยุโรป
ศูนย์ข้อมูล
ข้อมูลยาหมดสิทธิบัตร
บทวิเคราะห์แนวโน้มของเทคโนโลยี
กฏระเบียบและข้อบังคับด้านการลงทุน
บทวิเคราะห์ข้อมูลสถิติทางการตลาด
ข่าวสารธุรกิจและการลงทุน
ฐานข้อมูลเชิงธุรกิจ
ทรัพย์สินทางปัญญา (IP Portfolio)
ผู้เชี่ยวชาญ
หน่วยงานสนับสนุน
ผู้ประกอบการ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
Thailand Life Sciences
Roadmap TCELS
Thai Clinical Trials Registry (TCTR)
ศูนย์การเรียนรู้ ออนไลน์ CSDT e-Learning
ศูนย์การเรียนรู้ออนไลน์ CSDT e-Learning
ระบบฐานข้อมูล EPs และ NQI สำหรับเครื่องมือแพทย์แห่งชาติ
ศูนย์ให้คำปรึกษาและบริการวิชาการเครื่องมือแพทย์
Genomics
แผนยุทธศาสตร์ฯ ATMP ในประเทศไทย
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ข่าวสารองค์กร
ปฏิทินกิจกรรม
ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศราคากลาง
แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง
สรุปผลปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศการจัดซื้อจัดจ้างจากระบบ e-GP
ร่วมงานกับเรา
ตำแหน่งงาน
ประกาศผลการสมัครงาน
วิดีโอ
เกี่ยวกับ ทีเซลส์
ภาพรวมองค์กร
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการและผู้บริหาร
แผนบริหารความต่อเนื่องของศูนย์
พ.ร.บ ข้อมูลข่าวสาร
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 7
ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 9
สัญญาอื่นๆ
เอกสารอื่นๆ ที่ต้องรายงาน
แบบฟอร์มสำรวจความพึงพอใจ
นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
นโยบายความเป็นส่วนตัว
นโยบายคุกกี้
พันธมิตร
พันธมิตร
ติดต่อเรา
search
© ศลช. 2018, All right reserved
EN
TH
ศูนย์ข้อมูล
>
ข่าวสารธุรกิจและการลงทุน
>
นักวิจัยชาวสเปนแห่งมหาวิทยาลัยคาทอลิกมูร์เซีย (UCAM) ร่วมมือกับสถาบันซอลค์ (Salk Institute) สหรัฐอเม
นักวิจัยชาวสเปนแห่งมหาวิทยาลัยคาทอลิกมูร์เซีย (UCAM) ร่วมมือกับสถาบันซอลค์ (Salk Institute) สหรัฐอเม
05/08/2563
ทีมนักวิจัยนำโดยศาสตราจารย์ฮวน การ์โลส อุซปีซูอา นักวิจัยชาวสเปนแห่งมหาวิทยาลัยคาทอลิกมูร์เซีย (UCAM) ร่วมมือกับสถาบันซอลค์ (Salk Institute) สหรัฐอเมริกา ทำการทดลองสร้างสิ่งมีชีวิตผสมต่างสายพันธุ์ หรือ คิเมร่า (Chimera) โดยนำสเต็มเซลล์ของมนุษย์มาฉีดเข้าสู่เอ็มบริโอ หรือตัวอ่อนของลิงที่ผ่านการตัดต่อพันธุกรรม สเต็มเซลล์ของมนุษย์จะกระตุ้นยีนที่มีส่วนสำคัญในการสร้างอวัยวะ ผลที่ได้คือ ลิงที่มีเซลล์ของมนุษย์ อย่างไรก็ตาม ลิงที่ผ่านการทดลองดังกล่าวไม่ได้ถือกำเนิดออกมา เพราะนักวิจัยหยุดกระบวนการเอาไว้ ซึ่งทีมนักวิจัยมีวัตถุประสงค์ในการหาหนทางในการรักษาโรค ซึ่งนับเป็นก้าวสำคัญในวงการวิทยาศาสตร์ และหวังว่าในอนาคตจะสามารถนำอวัยวะของลิงที่เกิดจากกระบวนการนี้มาเปลี่ยนถ่ายให้กับผู้ป่วยได้
การทดลองดังกล่าวเกิดขึ้นในประเทศจีน เนื่องมาจากประเทศสเปนกีดกันอย่างเข้มงวดและไม่อนุญาตให้ทำการทดลองในลักษณะข้ามสายพันธุ์ ยกเว้นกรณีที่จำเป็นอย่างที่สุด เช่น การวิจัยเพื่อหาทางรักษาโรคร้าย โดยทางทีมวิจัยเห็นว่า การสร้างคิเมร่าเป็นการแก้ไขปัญหาการเจ็บป่วยของมนุษย์ ในกรณีที่ต้องการอวัยวะใหม่มาปลูกถ่าย เนื่องจากปัญหาการขาดแคลนผู้บริจาคอวัยวะและความเสี่ยงที่ร่างกายจะไม่ตอบสนองต่ออวัยวะ
กรุณากรอกข้อมูลด้านล่างเพื่ออ่านต่อ
Email
Page view :
112